ข้อมูลเบื้องต้น กับ ศิลปิน อาจารย์ วิเชียร วงศ์ศุภลักษณ์ (THAI)
เกิด | 3 ตุลาคม 2499 ตําบลบางนบ อําเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช |
การศึกษา |
|
ประถม โรงเรียนบ้านปากพรุ |
|
มัธยม โรงเรียนปากพนัง |
|
ปวช. ปวส. เพาะช่าง |
|
ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร กศษ. |
|
|
|
ประวัติการแสดงนิทรรศการ |
1. แสดงเดี่ยว 3 ครั้ง |
2. แสดงกลุ่มตะวัน 4 ครั้ง |
|
3.ร่วมแสดงนิทรรศการอื่นๆ |
|
2523, 2524, 2525, 2526 |
นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัย ของธนาคารกสิกรไทย |
2527, 2528, 2530 |
นิทรรศการศิลปกรรมแห่งชาติ |
นิทรรศการจิตรกรรมบัวหลวง ครั้งที่ 5, 6, 7, 8 |
|
2526 |
นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัยของธนาคารแห่งประเทศไทย |
2526 |
นิทรรศการกลุ่มตะวันครั้งที่ 1 |
2526 |
งานสะสม ทิสโก้ TISCO CONTENPORARY ART COLLECTION |
2526 | นิทรรศการ ศิลปกรรม ร.ศ.200 หอศิลป์จุฬาลงกรณ์ฯ |
2527 |
นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัย ครบรอบ 10 ปี หอศิลป์ พีระศรี |
2529 |
การประกวดภาพโปสเตอร์ การบริจาคโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย |
2531, 2532, 2533, 2534 | นิทรรศการ ทัศนศิลป์ เนื่องในวันสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ |
หอศิลป์ฯ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร |
|
2532 | นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปิน ถวายแด่สมเด็จย่าฯ โรงแรมมณเฑียร 1980 นิทรรศการ YOUNG ART ASIA NOW |
2535 |
นิทรรศการทัศนศิลป์ เกียรติคุณ 60 ปี อารี สุทธิพันธุ์ โรงแรมมณเฑียร |
2536, 2537 | นิทรรศการศิลปกรรม The Art of Swring |
2544 | ศิลปินรับเชิญ นิทรรศการงานสะสมภาพจิตรกรรมต้นแบบภาพปักเพื่อมูลนิธิศิลปาชีพฯ |
2545 |
นิทรรศการเทิดพระเกียรติ “9 ศิลปินเพื่อในหลวง” |
2546 |
นิทรรศการ “ร้อยสีสันร้อยน้ำใจ” 72 ปี อารี สุทธิพันธุ์ |
2546 | เป็นกรรมการตัดสิน สัญลักษณ์มาตรฐานสปาไทย กระทรวงสาธารณสุข |
2546 | นิทรรศการศิลปกรรมในวโรกาสสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์ฯ เสด็จพระราชดําเนินทรงเป็นองค์ประธาน ในพิธีเปิดหอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์ |
2547 | นิทรรศการศิลปะ “เชียงราย ศิลป์เพื่อหอศิลป์” |
2547 | นิทรรศการ “ทัศนศิลป์ 74 อารี สุทธิพันธุ์” |
2547 | เป็นกรรมการตัดสิน สัญลักษณ์มาตรฐานการนวดไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข |
2548 |
เป็นกรรมการตัดสินภาพวาดศิลปะเด็ก โครงการ 30 บาท คนไทยห่างไกลโรค |
2549 | นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ในวโรกาสครบ 60 ปี ณ โรงพยาบาลศิริราช |
2549, 2550, 2551 |
เป็นกรรมการตัดสินภาพวาดศิลปะเด็ก โครงการ ร้อยใจไทยห่วงใย 3 จังหวัดภาคใต้ |
2551 |
เขียนโครงการและเป็นกรรมการตัดสินการประกวดภาพวาดพร้อมคําบรรยาย สําหรับทำสื่อการเข้าถึงเด็กและเยาวชน โครงการอาหารไทยหัวใจดี |
2551 | ประธานจัดแสดงศิลปกรรม 42 ศิลปิน “เสน่ห์นนทบุรี บนเส้นสายลายสีแห่งมรดกวัฒนธรรม” สนับสนุนโดยผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี |
2552 |
เป็นกรรมการมูลนิธิ อารี สุทธิพันธุ์ จัดนิทรรศการ ศิลปินเพื่อช้าง ครั้งที่ 3 |
2552 |
เป็นที่ปรึกษาด้านการตกแต่งภายในอาคารสํานักงานคณะกรรมการสาธารณสุขแห่งชาติ (สช) |
2552 | ที่ปรึกษาการจัดงานมหกรรมฟื้นฟูวัฒนธรรมภูมิปัญญาไทย ร่วมฉลอง 200 ปี พระเจ้าบรมเธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิท การออกกําลังกายฤาษีดัดตน 2,250 คน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข |
2555 |
นิทรรศการภาพวาดและการเขียนอักษรพู่กันจีน ศิลปินจีนโพ้นทะเล 40 ประเทศ ณ หอศิลป์พิพิธภัฑ์สถานแห่งชาติ กรุงปักกิ่ง |
2555 (2012) | นิทรรศการงานสะสมของมหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ หอศิลป์ g23 ศูนย์ศิลปกรรมแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร |
2555-2556 | นิทรรศการ 4 ศิลปินไทย ณ เมืองกวางห้าน เฉิงตู มณฑลเฉสวน |
2555-2556 -2557 |
นิทรรศการ ธรรมะ ธรรมดา ธรรมชาติ 7 ศิลปินรับเชิญ ณ พิพิธภัณฑ์ภูมิปัญญาไทยและ g23 |
ศูนย์ศิลปกรรมแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร | |
2556 | ร่วมกับสมาคมวิญญูชนไทย-จีน นําศิลปินจีนจัดนิทรรศการศิลปะพู่กันจีน ณ หอศิลป์เซเว้นรังสรรค์ |
2557 | นิทรรศการศิลปกรรม ไทย-จีน ในวาระความสัมพัน์ทางการฑูต ศูนย์วัฒนธรรมจีนประจําประเทศไทย |
2558 | นิทรรศการภาพวาด และการเขียนตัวหนังสือ ศิลปินจีนโพ้นทะเล ครั้งที่ 2 กรุงปักกิ่ง |
2558 |
นิทรรศการศิลปกรรม ไทย-จีน ครบรอบ 40 ปี ในวาระความสัมพันธ์ ทางการฑูต |
2559 | นิทรรศการ ทัศนศิลป์ ครบ 84 ปี อารี สุทธิพันธุ์ 323 ศูนย์ศิลปกรรมแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
2559 | นิทรรศการ บ้านที่พ่อสร้าง ในโครงการพัฒนาตามพระราชดําริ หอศิลป์วัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร |
2559 | นิทรรศการ ศิลปินจิตอาสา เพื่ออาคารศาลากลางหลังเก่า จังหวัดนนทบุรี ณ ห้องนิทรรศการ อาคารศาลากลาง ท่าน้ำนนทบุรี |
2559 |
ปรึกษาคณะกรรมการปรับปรุงและบูรณะอาคารศาลากลางจังหวัดนนทบุรี หลังเก่า และกรรมการมูลนิธิศาลากลางหลังเก่า นนทบุรี |
ศิลปินกับการมีส่วนร่วมกับสภากาชาดไทยและสังคม | |
ปี 2526 | กระผมและเพื่อน 3 คน ขึ้นไปวาดภาพธรรมชาติ บนดอยขุนตาล นานครึ่งปี กลับลงมารวบรวมเพื่อนศิลปิน อีก 3 คน ตั้งกลุ่มตะวัน แสดงภาพครั้งแรก รอยฝันของคนหนุ่ม ณ โรงแรมมณเฑียร มีความประสงค์นําเงินรายได้จากการจําหน่ายภาพส่วนหนึ่ง มอบให้โครงการจัดสร้างอาคาร ไอ ซี ยู เด็ก โรงพยาบาลจุฬา สภากาชาดไทย และการแสดงภาพครั้งที่ 2 ณ โรงแรมออคิดเชอร์ราตัน ผมและเพื่อนๆยังคงมีความประสงค์การบริจาครายได้ส่วนหนึ่งให้กับโครงการจัดสร้างอาคาร ไอซี ยูเด็ก ต่อไป ซึ่งขณะนั้น อาคารยังไม่ได้ก่อสร้าง เมื่ออาคารเสร็จสมบูรณ์ ชื่อกลุ่มศิลปินตะวัน จารึกบนแผ่นทองเหลืองอยู่หน้าอาคาร ให้พวกเรากลุ่มศิลปินหนุ่มสาวสมัยนั้น มีความปลื้มใจ |
มอบลิขสิทธิ์ภาพวาดชุดต่างๆให้กับองค์กรและหน่วยงานต่างๆจัดพิมพ์หารายได้ |
|
ปี 2533, 2535 และ 2538 | ท่านผู้หญิงนวลผ่อง เสนาณรงค์ ได้ขอภาพวาดชุด สุดขอบฟ้า ดอกไม้และความฝัน และ น้ำใจไมตรี เป็นแบบพิมพ์ ส.ค.ส.สภากาชาด |
2528 |
สถาบันมะเร็งแห่งชาติ ใช้พิมพ์บัตรอวยพรปีใหม่ |
2529, 2530 | มูลนิธิแพทย์ชนบท ใช้พิมพ์บัตรอวยพรปีใหม่ |
2529 | รับเชิญจากไร่แม่ฟ้าหลวง แสดงเดี่ยว ชุดกล้วยไม้ป่า วาดภาพดอกเอื้องแซะ เพื่อใช้ทำปกสูจิบัตร "ขุนวิรังคะและเอื้องแซะ" |
งานไหว้สาแม่ฟ้าหลวง เทิดพระเกียรติสมเด็จย่า |
|
2530 | มูลนิธิพัฒนาชุมชนในเขตภูเขาใช้พิมพ์บัตรอวยพรปีใหม่ |
2530 | ทัศนศึกษา วิถีชาวเขา 7 เผ่า พื้นที่จังหวัดเชียงราย เพื่อวาดภาพ “ศิขรินทร์รัญจวน” ใช้ทำสื่อประชาสัมพันธ์งานไหว้สาแม่ฟ้าหลวง เทิดพระเกียรติสมเด็จย่า 2531 มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ ใช้พิมพ์บัตรอวยพรปีใหม่ |
2533 | ภาพวาด “ศิขรินทร์รัญจวน” ให้คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ใช้พิมพ์ปกหนังสือ การศึกษาที่สากลบนฐานแห่งภูมิปัญญาไทย เขียนโดย พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตโต) |
2534 | มูลนิธิพัฒนาชุมชนในเขตภูเขาใช้พิมพ์บัตรอวยพรปีใหม่ |
2558-2559 | นํากลุ่มเป็นศิลปินจิตอาสา ขึ้นไปทัศนศึกษา และบูรณาการศิลปะกับสุขภาพให้กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ในโครงการพัฒนาตามพระราชดําริ วาดภาพ บ้านที่พ่อสร้าง |
ผลงานภาพจิตรกรรมของศิลปิน วิเชียร วงศ์ศุภลักษ์ มีเอกลักษณ์ ความเป็นเอกลักษณ์วัฒนธรรมในซีกโลกตะวันออกมีความเรียบง่าย สะอาด ละเอียดปราณีต ในความสวยงามทางทัศนศิลป์ของภาพธรรมชาตินั้น ศิลปินได้แฝงความหมาย การอนุรักษ์ธรรมชาติ ป่าไม้ สิ่งแวดล้อม สุขภาพจิต และความหมายทางพระพุทธศาสนา วิเชียร เป็นศิลปินแนวหน้าคนหนึ่งในประเทศไทย และยังเป็นต้นแบบศิลปินจิตอาสา
โดยเฉพาะจังหวัดนนทบุรี อาจารย์ได้ทำกิจกรรมให้กับจังหวัด อาทิ รวบรวมศิลปินจัดแสดงภาพ เสน่ห์นนทบุรี บนเส้นสายลายสีแห่งมรดกวัฒนธรรม ณ ศาลากลางเก่า ท่าน้ำนนท์ จัดกิจกรรมฝึกอบรม เยาวชนไทยไปศิลป์ จังหวัดนนทบุรี ให้กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จัดตั้งศูนย์ส่งเสริม และพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร กับจังหวัดนนทบุรี ร่วมกับ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข จังหวัดนนทบุรี และ บ้านสวนศิลป์ไทยสบาย MOU จัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทย การนวดไทย สปาวิถีไทย และให้บริการการนวดไทย สปาวิถีไทยสไตล์บ้านศิลปิน มีความสวยงาม ททท.คัดเลือกให้เป็นสปากับธรรมชาติ 50 แห่งที่สวยที่สุดของประเทศไทย |
ปัจจุบัน วิเชียร ได้รับแต่งตั้งจากผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี นายนิสิต จันทร์สมวงศ์ เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมการปรับปรุงและบูรณะ อาคารศาลากลางจังหวัดนนทบุรี หลังเก่า |
ประธานจัดงาน ศิลปินจิตอาสา เพื่ออาคารศาลากลางจังหวัดนนทบุรี หลังเก่า หัวหน้ากลุ่มศิลปิน ตะวัน และกลุ่มศิลปินจิตอาสาเสน่ห์นนทบุรี |